... ความร่วมมือทางวิชาการด้านสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และการส่งเสริมธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
การสัมมนาดังกล่าวเป็นไปตามข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council – HRC ) ที่ 47/11 โดยเป็นส่วนหนึ่งของชุดการจัดสัมมนาใน 5 ภูมิภาคเพื่อนำผลไปรายงาน ต่อที่ประชุม HRC โดยเป็นการเปิดโอกาสให้รัฐสมาชิก หน่วยงาน/กองทุน/โครงการ ต่าง ๆ ภายใต้ ...
...
การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC ) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงาน ทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ...
... พร้อมด้วยผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงาน ผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา โดยคณะผู้แทนไทยได้แจ้งตอบรับข้อเสนอแนะของไทย ...
... และให้มุมมองเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนในอนาคตของไทย
กระบวนการ UPR เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC ) ซึ่งกำหนดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติ จัดทำรายงาน ทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศทุก 4 ปี ครึ่ง โดยใช้ระบบรัฐสมาชิกเป็นผู้ทบทวนกันเอง ...
... หรือพยายามหาเสียงสนับสนุนเพื่อสร้างความมั่นใจว่า จะมีการกล่าวถึงประเทศของตนในทางที่ดีในรายงาน ดังกล่าว แต่รายงาน UPR ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC ) และคุณค่าของกระบวนการ UPR ขึ้นอยู่กับความสามารถในการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติให้เกิดผลได้มากน้อยเพียงใด ...
Sorted by:
relevance date