... โดยการดำเนินนโยบายและโครงการต่าง ๆ ของไทยสะท้อนถึงการเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมทั้งสองประเด็นไปพร้อม... ...
การสัมมนาดังกล่าวเป็นไปตามข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council – HRC) ที่ 47/11 โดยเป็นส่วนหนึ่งของชุดการจัดสัมมนาใน 5 ภูมิภาคเพื่อนำผลไปรายงานต่อที่ประชุม HRC โดยเป็นการเปิดโอกาสให้รัฐสมาชิก...
... เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC) ซึ่งกำหนดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติ จัดทำรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศทุก ... ... เพื่อให้ข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนไปปฏิบัติต่อไปอย่างสมัครใจ
ประเทศไทยได้นำเสนอรายงานฯ มาแล้ว 2 รอบ (รอบที่ 1 เมื่อปี ...
ตามที่เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559 คณะผู้แทนไทย นำโดยเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวร ... ... และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic... ... ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา...
... ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC) และคุณค่าของกระบวนการ UPR ขึ้นอยู่กับความสามารถในการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติให้เกิดผลได้มากน้อยเพียงใด ... ...
ในระหว่างการอภิปราย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยได้เน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดทำรายงาน UPR ของภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะภาคประชาสังคม ...
...
การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เมื่อเดือนตุลาคม 2554 อีกด้วย
...