ค้นหา

 
Found: 9
Where: tags — คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ [x] รายงาน [x]

อธิบดีกรมองค์การฯ กล่าวเปิดสัมมนาระดับภูมิภาค 'Asia and the Pacific Regional Seminar on the Contribution of Development to the Enjoyment of all Human Rights'

... ซึ่งปรากฏอย่างเด่นชัดในสาระของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 โดยการดำเนินนโยบายและโครงการต่าง... ... การสัมมนาดังกล่าวเป็นไปตามข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ... ... โดยเป็นส่วนหนึ่งของชุดการจัดสัมมนาใน 5 ภูมิภาคเพื่อนำผลไปรายงานต่อที่ประชุม HRC โดยเป็นการเปิดโอกาสให้รัฐสมาชิก...
27/02/2023

คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการนำเสนอรายงานประเทศตามกลไก UPR รอบที่ 3

... ได้นำเสนอรายงานการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยภายใต้กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 3 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวถ้อยแถลงเปิดของคณะผู้แทนไทยซึ่งเน้นให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินนโยบายของไทยที่ให้ความสำคัญกับสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาที่ยั่งยืนควบคู่กัน... ... และการยึดมั่นต่อพันธรณีของไทยภายใต้ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี สาระของการนำเสนอรายงาน UPR ของไทย ครอบคลุมการดำเนินการ... ... กระบวนการ UPR เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ...
14/11/2022

รายงานประเทศ

... โดยมีการระบุกรอบเวลาและหน่วยงานรับผิดชอบในแต่ละประเด็น นอกจากนี้ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (ปี 2557-2561) ยังได้รวมข้อเสนอแนะจากกลไก UPR เพื่อช่วยให้การปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเดือนมิถุนายน 2557 รัฐบาลไทยได้ส่งรายงานการปฏิบัติตาม UPR ระยะกลางรอบโดยสมัครใจ ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวช่วยใน ...
03/05/2017

แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่ไทยได้รับ และคำมั่นโดยสมัครใจของไทยภายใต้กลไก UPR รอบที่ 2

... กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา โดยคณะผู้แทนไทยได้แจ้งตอบรับข้อเสนอแนะของไทย โดยสรุป ไทยได้ตอบรับข้อเสนอแนะทั้งหมด ...

รายงานประเทศ

ระเบียบวิธีการจัดทำรายงาน ขั้นตอนการร่างรายงาน รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นตามแนวทางของข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ที่ 5/1 ที่ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ ... ... โดยได้เริ่มจัดการหารืออย่างไม่เป็นทางการกับผู้แทนภาคประชาสังคมครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 เพื่อหารือเกี่ยวกับโครงร่างรายงานของประเทศไทย ...
03/02/2017

รายงานประเทศ

... โดยมีการระบุกรอบเวลาและหน่วยงานรับผิดชอบในแต่ละประเด็น นอกจากนี้ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (ปี 2557-2561) ยังได้รวมข้อเสนอแนะจากกลไก  UPR เพื่อช่วยให้การปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเดือนมิถุนายน 2557 รัฐบาลไทยได้ส่งรายงานการปฏิบัติตาม UPR ระยะกลางรอบโดยสมัครใจ ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวช่วยใน ...
23/05/2016

คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการนำเสนอรายงานประเทศตามกลไก UPR รอบที่ 2 ณ นครเจนีวา

... โดยได้นำข้อเสนอแนะของประเทศต่าง ๆ จากการนำเสนอรายงาน UPR รอบแรกเมื่อปี 2554 ไปปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์และมีความคืบหน้าที่เป็นรูปธรรมหลายด้าน... ... แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 การปฏิรูปกฎหมาย และการให้สัตยาบันและการถอนข้อสงวนที่มีต่อตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน... ... ข้อกลับมาหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อนที่จะแจ้งตอบรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมต่อที่ประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ...

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามผลการนำเสนอรายงานของไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review ณ กรุงเทพมหานคร

... จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามผลการนำเสนอรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สำหรับประชาชนในภาคกลางและภาคตะวันตก ... ... โดยไทยสามารถรับข้อเสนอแนะทั้งหมดหรือบางส่วนได้ 134 ข้อ ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ การเข้าเป็นภาคีกฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ...

ประเทศไทยลงนามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ

... การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ...
  relevance date