... ควรเป็นผู้รับผิดชอบการพิจารณาทบทวนขอบเขตอำนาจหน้าที่ของ AICHR ด้วยตนเอง
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศยังได้กล่าวถึงกระบวนการจัดทำรายงาน UPR ว่า มีเป้าหมายสำคัญเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในยุคของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ...
... society organizations for them to help monitor the government’s efforts in this regard. Thailand will go through the second cycle of the UPR at the 25th UPR Working Group in 2016.
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงาน UPR ฉบับกลางรอบ รอบที่ 1 ได้ที่นี่
... รวมถึงการประชุมที่ร่วมจัดกับทีมงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย ซึ่งทำให้ประเทศไทยได้มีโอกาสเรียนรู้จากประสบการณ์การจัดทำรายงาน UPR ของประเทศอื่นๆ
ประเทศไทยได้พยายามให้ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม ...
... กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงาน ผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR ) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา ...
UPR Report of Thailand, 12th Universal Periodic Review
Introduction (Thailand)
Final Remarks (Thailand)
... ประเทศไทยยึดมั่นในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยได้นำข้อเสนอแนะของประเทศต่าง ๆ จากการนำเสนอรายงาน UPR รอบแรกเมื่อปี 2554 ไปปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์และมีความคืบหน้าที่เป็นรูปธรรมหลายด้าน ซึ่งรวมถึงการเข้าเป็นภาคีและการถอนข้อสงวนที่มีต่อตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่สำคัญ ...
...
กรมองค์การระหว่างประเทศ (กต.) และกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ (ยธ.) ในฐานะหน่วยงานหลักในการยกร่างรายงาน UPR ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและติดตาม
การดำเนินงานของไทย อาทิ การจัด Briefing แก่คณะทูตประเทศต่างๆ ...
... และการยึดมั่นต่อพันธรณีของไทยภายใต้ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี
สาระของการนำเสนอรายงาน UPR ของไทย ครอบคลุมการดำเนินการ พัฒนาการ ความสำเร็จ ตลอดจนความท้าทาย ทั้งสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม ...
Highlights of Thailand’s implementation of recommendations and voluntary pledges under the first cycle of the Universal Periodic Review 2016-2018 (Mid-term update)
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงาน UPR ฉบับกลางรอบ รอบที่ 2 ได้ที่นี่
... การติดตามพัฒนาการการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง รวมถึงรักษาไว้ซึ่งความสนใจในการผลักดันประเด็นภายใต้กลไก UPR ระหว่างการเสนอรายงาน รอบแรกและรอบที่ 2
ประเทศไทยเชื่อว่าการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความช่วยเหลือทางวิชาการเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้เกิดการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่มีประสิทธิภาพ
...
Sorted by:
relevance date