... ซึ่งการลงนามอนุสัญญาฯ ถือเป็นการแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองของประเทศไทยที่จะไม่ดำเนินการใดๆ... ...
การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก... ... โดยประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีแล้ว ๗ ฉบับ ได้แก่
(๑) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง...
... รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ... ...
การเข้าเป็นภาคีกฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
การปรับปรุงกฎหมายภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ... ...
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
กระบวนการยุติธรรม
การอำนวยความยุติธรรม...
... ได้เข้าร่วมการประชุมระดับสูง (High Level Segment) ของการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ... ... ได้กล่าวถ้อยแถลงย้ำถึงความสำคัญของการดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) บนพื้นฐานของหลักการด้านสิทธิมนุษยชน ได้แก่ การลดความเหลื่อมล้ำและการขจัดการเลือกปฏิบัติ... ... การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม การยอมรับความแตกต่างและเคารพความหลากหลาย โดยได้ใช้โอกาสนำเสนอหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่าเป็นแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับการดำเนินการเพื่อบรรลุ... ... และการหลีกเลี่ยงการประณามและการทำให้เรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นประเด็นทางการเมือง
อนึ่ง การประชุมครั้งนี้...
... และข้อจำกัดในการดำเนินการเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพื้นที่ต่าง ... ... บางประเทศจะยังใช้รายงาน UPR เป็นเครื่องมือทางการเมือง หรือพยายามหาเสียงสนับสนุนเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ... ... ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC) และคุณค่าของกระบวนการ ... ... ประเทศไทยอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามข้อเสนอแนะ รวมทั้งได้จัดตั้งกลไกตรวจสอบการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ ...
relevance date