... รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศกล่าวถ้อยแถลงผ่านวิดีทัศน์ในการประชุมระดับสูง (high-level segment) ระหว่างการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council – HRC ) สมัยที่ ๕๒ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ในโอกาสครบรอบ ๗๕ ปีของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ...
... ความร่วมมือทางวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน และการพัฒนา และการส่งเสริมธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
การสัมมนาดังกล่าวเป็นไปตามข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council – HRC ) ที่ 47/11 โดยเป็นส่วนหนึ่งของชุดการจัดสัมมนาใน 5 ภูมิภาคเพื่อนำผลไปรายงานต่อที่ประชุม HRC โดยเป็นการเปิดโอกาสให้รัฐสมาชิก ...
... ซึ่งเป็นการย้ำถึงความมุ่งมั่นของไทยที่จะส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ รวมถึงกลไกพิเศษภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council – HRC ) อย่างสร้างสรรค์ เพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ทั้งในประเทศไทยและระหว่างประเทศต่อไป
...
...
การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชน ที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC ) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ของประเทศไทยภายใต้กลไก ...
... ในฐานะผู้แทนพิเศษของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเข้าร่วมการประชุมระดับสูง (
high-level segment)
ในระหว่างการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (
Human Rights Council – HRC )
สมัยที่ ๕๒ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ในโอกาสดังกล่าว ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวถ้อยแถลงใน ...
... ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา โดยคณะผู้แทนไทยได้แจ้งตอบรับข้อเสนอแนะของไทย ...
... ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการต่างประเทศ ได้เข้าร่วมการประชุมระดับสูง (High Level Segment) ของการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) สมัยที่ 31 ณ นครเจนีวา
เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2559 นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการต่างประเทศ ...
... และให้มุมมองเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชน ในอนาคตของไทย
กระบวนการ UPR เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC ) ซึ่งกำหนดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติ จัดทำรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ของประเทศทุก 4 ...
... จะมีการกล่าวถึงประเทศของตนในทางที่ดีในรายงานดังกล่าว แต่รายงาน UPR ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC ) และคุณค่าของกระบวนการ UPR ขึ้นอยู่กับความสามารถในการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติให้เกิดผลได้มากน้อยเพียงใด ...
Sorted by:
relevance date