ค้นหา

 
Found: 5
Where: tags — Human Rights [x] รายงาน [x] HRC [x]

ปลัดกระทรวงการต่างประเทศกล่าวปาฐกถาในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของ AICHR เรื่องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ประเทศอาเซียนในการจัดทำรายงานรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน

... หรือพยายามหาเสียงสนับสนุนเพื่อสร้างความมั่นใจว่า จะมีการกล่าวถึงประเทศของตนในทางที่ดีในรายงานดังกล่าว แต่รายงาน UPR ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC) และคุณค่าของกระบวนการ UPR ขึ้นอยู่กับความสามารถในการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติให้เกิดผลได้มากน้อยเพียงใด ...

รายงาน UPR ฉบับกลางรอบ รอบที่ 1

... the Universal Periodic Review 2012-2014 (Mid-term update) 1. Background Thailand presented its first national report on the human rights situation in the country at the 12th Session of the Universal Periodic Review (UPR) Working Group. The report was adopted at the 19th Session of the Human Rights Council (HRC) in March 2012. Thailand received a total of 172 recommendations, 134 of which have been accepted in whole or in part. In ... ... second cycle of the UPR at the 25th UPR Working Group in 2016. อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงาน UPR ฉบับกลางรอบ รอบที่ 1 ได้ที่นี่
15/05/2019

แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่ไทยได้รับ และคำมั่นโดยสมัครใจของไทยภายใต้กลไก UPR รอบที่ 2

... พร้อมด้วยผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา ...

คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการนำเสนอรายงานประเทศตามกลไก UPR รอบที่ 3

... โดยเฉพาะการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนและการบริหารจัดการกับความท้าทายและผลกระทบในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 และให้มุมมองเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนในอนาคตของไทย กระบวนการ UPR เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC) ซึ่งกำหนดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติ จัดทำรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศทุก 4 ปี ครึ่ง โดยใช้ระบบรัฐสมาชิกเป็นผู้ทบทวนกันเอง ...
14/11/2022

ประเทศไทยลงนามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ

... การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เมื่อเดือนตุลาคม 2554 อีกด้วย อนุสัญญาฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้กับไทยก็ต่อเมื่อประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ ...
  relevance date