... ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อความน่าเชื่อถือของ AICHR ในอนาคต ทั้งนี้ ไทยประสงค์ให้ AICHR จัดทำรายงานประเมินผลการดำเนินงานของตนเองให้แล้วเสร็จโดยเร็วและเห็นว่า ... ...
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศยังได้กล่าวถึงกระบวนการจัดทำรายงาน UPR ว่า มีเป้าหมายสำคัญเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในยุคของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Commission on Human Rights) ในอดีต ...
... รวมทั้งได้ใช้โอกาสของกระบวนการยกร่างรายงานผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าในประเด็นต่างๆ ที่ยังคั่งค้าง โดยได้มีการเสนอประเด็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนให้คณะรัฐมนตรีรับทราบและตระหนักถึงความจาเป็นในการเร่งปรับปรุงแก้ไขเรื่องดังกล่าว ดังนั้น กระบวนการ UPR ของไทย ไม่ได้มุ่งเฉพาะการทบทวนเท่านั้น แต่ยังมุ่งให้ประชาชนภายในประเทศได้รับประโยชน์จากกระบวนการ ...
... และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา โดยคณะผู้แทนไทยได้แจ้งตอบรับข้อเสนอแนะของไทย ...
... คณะผู้แทนไทยนำโดยนายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ได้นำเสนอรายงานการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยภายใต้กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 คณะผู้แทนไทยนำโดยนายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ...
... เพื่อช่วยให้การปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเดือนมิถุนายน 2557 รัฐบาลไทยได้ส่งรายงานการปฏิบัติตาม UPR ระยะกลางรอบโดยสมัครใจ ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวช่วยใน การติดตามพัฒนาการการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ...
... เพื่อช่วยให้การปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเดือนมิถุนายน 2557 รัฐบาลไทยได้ส่งรายงานการปฏิบัติตาม UPR ระยะกลางรอบโดยสมัครใจ ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวช่วยใน การติดตามพัฒนาการการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ...
... ซึ่งได้ส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนมาโดยตลอด นอกจากนั้น ยังเป็นการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะภายใต้กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR) ตามที่ไทยได้นำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใต้กระบวนการ UPR ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติในเดือนตุลาคม 2554 และได้รับข้อเสนอแนะจากประเทศ ...
... ช่วยเสริมสร้างเครือข่ายประชาชนเพื่อผลักดันการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่ประเทศไทยรับรองและการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศในอนาคตต่อไป ทั้งนี้ ... ...
โดยผู้ที่สนใจสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการ UPR ได้ที่เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศที่
www.mfa.go....
... Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เมื่อเดือนตุลาคม 2554 อีกด้วย
อนุสัญญาฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้กับไทยก็ต่อเมื่อประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ ...
... พฤศจิกายน 2554)
คำกล่าวในช่วงการรับรองรายงานของ UPR Working Group (เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554)
คำกล่าวเปิดในการรับรองผลการทบทวนรายงานของไทยในการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนฯ สมัยที่ 19 (เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2555) ...
relevance date