ค้นหา

 
Found: 4
Where: tags — รายงาน [x] สิทธิมนุษยชน [x] UPR [x]

ประเทศไทยลงนามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ

... การลงนามอนุสัญญาดังกล่าวยังถือเป็นการปฏิบัติตามคำมั่นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยให้ไว้ในการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights Council - HRC) ระหว่างปี ๒๕๕๓-๒๕๕๖ และในช่วงการนำเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เมื่อเดือนตุลาคม 2554 อีกด้วย อนุสัญญาฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้กับไทยก็ต่อเมื่อประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ ...

แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่ไทยได้รับ และคำมั่นโดยสมัครใจของไทยภายใต้กลไก UPR รอบที่ 2

... พร้อมด้วยผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เข้าร่วมการรับรองรายงานผลการนำเสนอรายงาน Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ของไทยในช่วงการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยที่ 33 ณ นครเจนีวา โดยคณะผู้แทนไทยได้แจ้งตอบรับข้อเสนอแนะของไทย ...

คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการนำเสนอรายงานประเทศตามกลไก UPR รอบที่ 3

... โดยเฉพาะการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนและการบริหารจัดการกับความท้าทายและผลกระทบในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 และให้มุมมองเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนในอนาคตของไทย กระบวนการ UPR เป็นกระบวนการภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC) ซึ่งกำหนดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติ จัดทำรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศทุก 4 ปี ครึ่ง โดยใช้ระบบรัฐสมาชิกเป็นผู้ทบทวนกันเอง ...
14/11/2022

ปลัดกระทรวงการต่างประเทศกล่าวปาฐกถาในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของ AICHR เรื่องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ประเทศอาเซียนในการจัดทำรายงานรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน

... หรือพยายามหาเสียงสนับสนุนเพื่อสร้างความมั่นใจว่า จะมีการกล่าวถึงประเทศของตนในทางที่ดีในรายงานดังกล่าว แต่รายงาน UPR ก็มีประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะข้อเสนอแนะ(recommendations) ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council-HRC) และคุณค่าของกระบวนการ UPR ขึ้นอยู่กับความสามารถในการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติให้เกิดผลได้มากน้อยเพียงใด ...
  relevance date